เมื่อเราต้องการ extract file ให้ทำดังนี้
เปิด Terminal แล้วพิมพ์
tar xvjf filename.tar.bz2
Which will untar it to the current directory. Normally (99% of the time) it will create it's own subdirectory so you don't need to worry about that.
Just so you know:
tar - Tape ARchiver
And the options:
x - extract
v - verbose output (lists all files as they are extracted)
j - deal with bzipped file
f - read from a file, rather than a tape device
"tar --help" will give you more options and info
blog นี้จะกล่าวถึง Raspberry Pi Raspbian เป็นหลัก โดยจะอธิบายทั้งการใช้ windows และ Linux ในการเชื่อมต่อ วิธีอ่าน : ให้เริ่มอ่านตั้งแต่หัวข้อแรกๆขึ้นมา(ให้ดูที่ "คลังบทความ" ทางด้านขวามือ จะมี วัน-เวลา ไล่เรียงอยู่) ไม่งั้นอาจจะงงได้ สำหรับมือใหม่ หรือท่านใดที่ไม่เข้าใจ สามารถ mail มาถามกันได้ครับ ที่ kongimi1980@gmail.com หรือที่ line : 0814282425
วันศุกร์ที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2557
การมองหารายละเอียดของอุปกรณ์ที่เสียบเขามาใหม่
หลายๆครั้ง ที่เราต้องการทราบรายละเอียดว่าอุปกรณ์ที่เราเพิ่งเสียบเข้ามาทาง usb port เราจะงงว่าทำอย่างไรจึงจะเห็นรายละเอียดเหล่านั้นได้ ซึ่งมีวิธีง่ายๆก็คือ ให้พิมพ์
sudo tail -f /var/log/messages
ใน terminal
จบ....
sudo tail -f /var/log/messages
ใน terminal
จบ....
วันศุกร์ที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2557
mount flash drive
โดยปกติแล้วที่บอร์ด Raspberry Pi จะมี USB port สำหรับต่อกับ Device ต่างๆ อยู่ 2 port ด้วยกัน หากทั้งสอง Port นี้ว่างอยู่ เราสามารถหาอุปกรณ์อย่างอื่นมาต่อได้ ในตอนนี้ เราจะมาเพิ่มพื้นที่หน่วยความจำให้กับเจ้า Raspberry Pi ด้วยการเพิ่ม USB Flash Drive
ขั้นตอนไม่ยากครับ ง่ายๆ
เพื่อให้มั่นใจว่าระบบมองเห็น USB Flash Drive ที่เสียบเข้ามาจริง เราจะทำการเช็คที่ /var/log/message โดยที่โฟลเดอร์นี้ จะทำการเก็บข้อความ (log message) ระบบที่เกิดขึ้น ซึ่งประกอบไปด้วยข้อความแจ้งว่ามีการส่งเมล์ออกไป, ข้อความแสดงการทำงานของ Cron service , ข้อความของ Kern , ข้อความแสดงการล๊อกอินจาก user อื่นๆ และข้อความแจ้งเตือนว่ามีอุปกรณ์อย่างอื่นพ่วงต่อเข้ามา ซึ่งนั่นเป็นสิ่งที่เรากำลังมองหาอยู่
โดยทั่วไป Linux จะมองเห็น USB Flash Drive เป็น sda1 ที่นี้ เราก็จะมองหา sda1 ที่ /var/log/message โดยใช้คำสั่ง tail เพื่อของดูเนื้อหาตอนท้ายๆ ของไฟล์ message (เนื่องจากไฟล์นี้จะถูกเขียนลงไปเรื่อยๆ ที่บรรทัดสุดท้าย หากมี message จากจุดต่างๆ ของระบบส่งเข้ามา)
ใช้คำสั่ง เพื่อดู message ที่เข้ามาล่าสุดใน /var/log/message ด้วยคำสั่ง
sudo tail -f /var/log/messages
ทำการเสียบเจ้า USB Flash Drive ของเราเข้ากับช่อง USB ของบอร์ด Raspberry Pi สังเกตที่หน้าจอ terminal นี้ จะพบว่า message มีการเปลี่ยนแปลง และถ้า USB Flash Drive เราไม่เสีย จะพบว่า Raspberry Pi มองเห็นเจ้า USB Flash Drive ของเราแล้ว ให้กด Ctrl+C เพื่อหยุดการดู message ได้ครับ
ต่อไปเราจะต้องทำการสร้าง directory เปล่าๆ ขึ้นมา เพื่อทำการ mount ให้เจ้า USB Flash Drive ของเราเข้ากับ Directory นั้น พูดง่ายๆ ก็คือ ทำให้ Directory นั้นกลายเป็น USB Flash Drive นั่นเอง
ใช้คำสั่ง สร้าง directory ที่ชื่อ usbdisk (หรือจะชื่ออื่นๆ ก็ได้นะครับ) ขึ้นมา ในที่นี้ผมจะเก็บไว้ภายใต้โฟลเดอร์ /media นะครับ
sudo mkdir /media/usbdisk
เสร็จแล้ว เราจะทำการ mount hardware คือ เจ้า USB Flash Drive เข้ากับโฟวเดอร์นี้ ด้วยคำสั่ง
sudo mount -t vfat -o uid=pi,gid=pi /dev/sda1 /media/usbdisk/
ตอนนี้ เราจะได้โฟวเดอร์ usbdisk เป็นที่เก็บทุกอย่างเท่าที่ USB Flash Drive มี ลองเข้าไปดูครับ จะเจอไฟล์ที่เราเก็บไว้ที่ USB Flash Drive
เราก็จะได้พื้นที่เพิ่มเติม นอกเหนือจาก SD-Card ที่เรามี แต่เป็นพื้นที่ที่สามารถเคลื่อนย้ายได้ มีอย่างหนึ่งที่ต้องบอกไว้ก็คือ ทุกครั้งที่เราจะทำการ ถอด USB Flash Drive ออกจากบอร์ด Raspberry Pi เราจะต้องทำตรงกันข้ามกับคำสั่ง mount นั่นคือคำสั่ง umount
ก่อนถอด USB Flash Drive เราจะใช้คำสั่ง umount ไปที่ Directory ที่เรา mount ไว้
sudo umount /media/usbdisk
จากนั้น เราจะทำการลบ usbdisk ด้วยก็ได้ หรือจะปล่อยไว้แบบนี้ก็ได้ ครับ ไม่มีปัญหา เพราะเราได้ umount ออกไปแล้ว
เพื่อนๆ อาจจะนำไปประยุกต์ใช้ในการเก็บข้อมูลอีกรูปแบบหนึ่งก็ได้ นอกเหนือจากการเก็บข้อมูลไว้ที่ Database
ขั้นตอนไม่ยากครับ ง่ายๆ
เพื่อให้มั่นใจว่าระบบมองเห็น USB Flash Drive ที่เสียบเข้ามาจริง เราจะทำการเช็คที่ /var/log/message โดยที่โฟลเดอร์นี้ จะทำการเก็บข้อความ (log message) ระบบที่เกิดขึ้น ซึ่งประกอบไปด้วยข้อความแจ้งว่ามีการส่งเมล์ออกไป, ข้อความแสดงการทำงานของ Cron service , ข้อความของ Kern , ข้อความแสดงการล๊อกอินจาก user อื่นๆ และข้อความแจ้งเตือนว่ามีอุปกรณ์อย่างอื่นพ่วงต่อเข้ามา ซึ่งนั่นเป็นสิ่งที่เรากำลังมองหาอยู่
โดยทั่วไป Linux จะมองเห็น USB Flash Drive เป็น sda1 ที่นี้ เราก็จะมองหา sda1 ที่ /var/log/message โดยใช้คำสั่ง tail เพื่อของดูเนื้อหาตอนท้ายๆ ของไฟล์ message (เนื่องจากไฟล์นี้จะถูกเขียนลงไปเรื่อยๆ ที่บรรทัดสุดท้าย หากมี message จากจุดต่างๆ ของระบบส่งเข้ามา)
ใช้คำสั่ง เพื่อดู message ที่เข้ามาล่าสุดใน /var/log/message ด้วยคำสั่ง
sudo tail -f /var/log/messages
ทำการเสียบเจ้า USB Flash Drive ของเราเข้ากับช่อง USB ของบอร์ด Raspberry Pi สังเกตที่หน้าจอ terminal นี้ จะพบว่า message มีการเปลี่ยนแปลง และถ้า USB Flash Drive เราไม่เสีย จะพบว่า Raspberry Pi มองเห็นเจ้า USB Flash Drive ของเราแล้ว ให้กด Ctrl+C เพื่อหยุดการดู message ได้ครับ
ต่อไปเราจะต้องทำการสร้าง directory เปล่าๆ ขึ้นมา เพื่อทำการ mount ให้เจ้า USB Flash Drive ของเราเข้ากับ Directory นั้น พูดง่ายๆ ก็คือ ทำให้ Directory นั้นกลายเป็น USB Flash Drive นั่นเอง
ใช้คำสั่ง สร้าง directory ที่ชื่อ usbdisk (หรือจะชื่ออื่นๆ ก็ได้นะครับ) ขึ้นมา ในที่นี้ผมจะเก็บไว้ภายใต้โฟลเดอร์ /media นะครับ
sudo mkdir /media/usbdisk
เสร็จแล้ว เราจะทำการ mount hardware คือ เจ้า USB Flash Drive เข้ากับโฟวเดอร์นี้ ด้วยคำสั่ง
sudo mount -t vfat -o uid=pi,gid=pi /dev/sda1 /media/usbdisk/
ตอนนี้ เราจะได้โฟวเดอร์ usbdisk เป็นที่เก็บทุกอย่างเท่าที่ USB Flash Drive มี ลองเข้าไปดูครับ จะเจอไฟล์ที่เราเก็บไว้ที่ USB Flash Drive
เราก็จะได้พื้นที่เพิ่มเติม นอกเหนือจาก SD-Card ที่เรามี แต่เป็นพื้นที่ที่สามารถเคลื่อนย้ายได้ มีอย่างหนึ่งที่ต้องบอกไว้ก็คือ ทุกครั้งที่เราจะทำการ ถอด USB Flash Drive ออกจากบอร์ด Raspberry Pi เราจะต้องทำตรงกันข้ามกับคำสั่ง mount นั่นคือคำสั่ง umount
ก่อนถอด USB Flash Drive เราจะใช้คำสั่ง umount ไปที่ Directory ที่เรา mount ไว้
sudo umount /media/usbdisk
จากนั้น เราจะทำการลบ usbdisk ด้วยก็ได้ หรือจะปล่อยไว้แบบนี้ก็ได้ ครับ ไม่มีปัญหา เพราะเราได้ umount ออกไปแล้ว
เพื่อนๆ อาจจะนำไปประยุกต์ใช้ในการเก็บข้อมูลอีกรูปแบบหนึ่งก็ได้ นอกเหนือจากการเก็บข้อมูลไว้ที่ Database
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)